วันพฤหัสบดีที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2558

ความหมายของสัญลักษณ์เว็บบล็อก

สัญลักษณ์เว็บบล็อก รูปพระจันทร์ มาจากคำว่า ศศิธร ซึ่งเป็นชื่อจริง แปลว่า ดวงจันทร์ การใช้สัญลักษณ์พระจันทร์เสี้ยวนั้น ง่ายก็การเข้าใจ
และเลือกใช้เส้นที่คล้ายกับการเขียนเพราะว่าทำให้ดูเป็นเอกลักษณ์ เรียบง่าย และโดยส่วนตัวชอบดวงจันทร์อยู่แล้วเลยนำมาใช้เป็นสัญลักษณ์ของบล็อก

วันพฤหัสบดีที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2558

ความหมายของสกุลไฟล์ภาพ

ความรู้คู่เว็บบล็อก เรื่อง ความหมายของสกุลไฟล์ภาพ

Tagged Image File Format (TIF) เป็นแฟ้มภาพที่มีการจัดเก็บแบบบิตแมป ใช้ในงานโปรแกรมสิ่งพิมพ์ เช่น เพจเมเกอร์ โฟโตชอป เป็นต้น เป็นรูปแบบบิต แมป ที่ใช้อย่างกว้างขวาง ถูกพัฒนาขึ้น โดยการร่วมมือ Aldus Corporation กับ ไมโครซอฟท์ เป็นรูปแบบที่สามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ รูปแบบTIF เป็นรูปแบบแฟ้มแบบบิตแมปที่ค่อนข้างแข็งแรง มันสามารถทำบางสิ่ง ที่รูปแบบอื่นไม่สามารถทำได้ นอกจากนั้นข้อดีคือ สามารถเปลี่ยนไปมาระหว่างพีซี กับเครื่องแมคอินทอช ได้ เนื่องจากสนับสนุนทั้งสองระบบ แต่เนื่องจากลักษณะการจัดเก็บภาพ ไม่มีการบีบอัดข้อมูลเลย จึงทำให้ขนาดของภาพค่อนข้างใหญ่เมื่อเทียบกับรูปแบบการจัดเก็บภาพในลักษณะ อื่น
 PNG (อ่านว่า ปิง) (อังกฤษ: Portable Network Graphics) เป็นรูปแบบแฟ้มภาพที่พัฒนาขึ้นมาทดแทนรูปแบบแฟ้มแบบ GIF เพื่อแก้ปัญหาด้านสิทธิบัตรPNG ออกเสียงว่า ปิง แต่ไม่สะกดว่า ping เนื่อง จากซ้ำกับโปรแกรมทางเครือข่ายที่ชื่อเดียวกัน มีปัญหาด้านการแสดงผลใน อินเทอร์เน็ตเอกซ์พลอเรอร์ เวอร์ชัน 6 ซึ่งไม่สนับสนุนคุณสมบัติ alpha-channel

Bitmap(BMP)  เป็นภาพแบบ Resolution Dependent ประกอบขึ้นด้วยจุดสีต่างๆ ที่มีจำนวนคงที่ตายตัวตามการสร้างภาพที่มี Resolution หรือความละเอียดของภาพต่างกันไป การเปลี่ยนขนาดภาพทำโดยเพิ่มหรือลด Pixel จากที่มีอยู่เดิม เมื่อขยายภาพให้ใหญ่ขึ้น ความละเอียดของภาพจึงลดลง และถ้าเพิ่มค่าความละเอียดมากขึ้นก็จะทำให้ไฟล์มีขนาดใหญ่และเปลืองเนื้อที่ หน่วยความจำมากขึ้นตามไปด้วย ภาพที่ขยายโตขึ้นจะมองเห็นเป็นตารางสี่เหลี่ยมเรียงต่อกัน ทำให้ขาดความสวยงามภาพแบบ Bitmap จึงเหมาะสำหรับงานกราฟิกในแบบที่ต้องการให้แสงเงาในรายละเอียด เป็นไฟล์ที่เหมาะกับการทำงานกับภาพเหมือนจริงประเภทภาพถ่าย

Psd เป็นนามสกุลของโปรแกรม photoshop เอง มีประโยชน์สุดๆ เนื่องจากจะทำการบันทึกแบบแยกเลเยอร์เก็บเอาไว้ให้คุณแก้ไขได้ในภายหลัง จะใช้โปรแกรมอื่นเปิดไฟล์นี้มาแก้ไม่ได้ เราขอแนะนำให้คุณบันทึก ไฟล์ในรูปแบบนี้เอาไว้ทุกครั้ง เผื่อเรียกแก้ไขยามฉุกเฉิน จะได้ไม่ต้องมานั่งทำใหม่อีก 

PDF รูปแบบเอกสารใช้ได้หลายระบบ (อังกฤษ: portable document format (ย่อ: pdf)) คือ รูปแบบแฟ้มลักษณะหนึ่ง ที่พัฒนาโดยบริษัทอะโดบีซิสเต็มส์ สำหรับแสดงเอกสารที่สามารถใช้งานได้ในทุก ระบบปฏิบัติการ และยังคงลักษณะเอกสารเหมือนต้นฉบับ เอกสารในรูปแบบนี้สามารถจัดเก็บ ตัวอักษร รูปภาพ รูปลายเส้น ในลักษณะเป็นหน้าหนังสือ ตั้งแต่ หนึ่งหน้า หรือหลายพันหน้าได้ ในแฟ้มเดียวกัน รูปแบบเป็นมาตรฐานที่เปิดให้คนอื่นสามารถเขียนโปรแกรมมาทำงานร่วมกันได้รูป แบบนี้ เหมาะสมสำหรับงานที่ต้องการให้แสดงผลลักษณะเดียวกับต้นฉบับ ซึ่งแตกต่างกับการใช้งานรูปแบบอื่น เช่น HTML เพราะการแสดงผลของ HTML จะขึ้นอยู่กับโปรแกรมเบราว์เซอร์และคอมพิวเตอร์ที่ใช้ และเพราะฉะนั้น จะแสดงผลต่างกัน ถ้าใช้ต่างกัน

Ai เป็นนามสกุลสำหรับการsaveงานในโปรแกรมadobe illustrator ซึ่งไฟล์นี้เหมาะ กับการsaveงานแบบภาพกราฟิกส์เวกเตอร์ (อังกฤษ: vector graphics) โดยทั่วไปคือคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ที่เกิดจากการกำหนดพิกัดและการคำนวณค่าบน ระนาบสองมิติ รวมทั้งมุมและระยะทาง ตามทฤษฎีเวกเตอร์ในทางคณิตศาสตร์ ในการก่อให้เกิดเป็น เส้น หรือรูปภาพ ข้อดีคือ สามารถย่อขยายได้ โดยคุณภาพไม่เปลี่ยนแปลง ข้อเสียคือภาพไม่เหมือนภาพจริงเป็นได้เพียงภาพวาด หรือใกล้เคียงภาพถ่ายเท่านั้น ข้อมูลภาพพวกนี้ได้แก่ไฟล์สกุล svg, ps, eps, ai (adobe illustrator) และฟอนต์แบบ TrueType ต่างๆเป็นต้น โปรแกรมที่ใช้สร้างข้อมูลภาพประเภทนี้เช่น Adobe Illustrator, InkScape ในบางครั้ง ภาพกราฟิกส์เวกเตอร์ยังอาจหมายถึงกราฟิกส์สามมิติอีกด้วย

ที่มา : https://goo.gl/3yJ1bq

วันเสาร์ที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2558

ความหมายของคำว่า อัตลักษณ์

ความหมายของคำว่า อัตลักษณ์
              อัตลักษณ์ ตามความหมายของคณะกรรมการบัญญัติศัพท์ของราชบัณฑิตยสถานได้บัญญัติ

               คำว่า อัตลักษณ์ (อ่านว่า อัด-ตะ-ลัก) ประกอบด้วยคำว่า อัต (อัด-ตะ) ซึ่งหมายถึง ตน หรือ ตัวเอง กับ ลักษณ์ ซึ่งหมายถึง สมบัติเฉพาะตัว. คำว่า อัตลักษณ์ ตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า identity (อ่านว่า ไอ-เด็น-ติ-ตี้) หมายถึง ผลรวมของลักษณะเฉพาะของสิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งทำให้สิ่งนั้นเป็นที่รู้จักหรือ จำได้ เช่น นักร้องกลุ่มนี้มีอัตลักษณ์ทางด้านเสียงที่เด่นมาก ใครได้ยินก็จำได้ทันที. สังคมแต่ละสังคมมีอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของตนเอง. โลกาภิวัตน์ทำให้อัตลักษณ์ของสังคมไทยเปลี่ยนไป.
..... อ่านต่อได้ที่: https://www.gotoknow.org/posts/450615
อัตลักษณ์ 
   ตามความหมายของคณะกรรมการบัญญัติศัพท์ของราชบัณฑิตยสถานได้บัญญัติคำว่า อัตลักษณ์ (อ่านว่า อัด-ตะ-ลัก) ประกอบด้วยคำว่า อัต (อัด-ตะ) ซึ่งหมายถึง ตน หรือ ตัวเอง กับ ลักษณ์ ซึ่งหมายถึง สมบัติเฉพาะตัว. คำว่า อัตลักษณ์ ตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า identity (อ่านว่า ไอ-เด็น-ติ-ตี้) หมายถึง ผลรวมของลักษณะเฉพาะของสิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งทำให้สิ่งนั้นเป็นที่รู้จักหรือ จำได้ เช่น นักร้องกลุ่มนี้มีอัตลักษณ์ทางด้านเสียงที่เด่นมาก ใครได้ยินก็จำได้ทันที. สังคมแต่ละสังคมมีอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของตนเอง. โลกาภิวัตน์ทำให้อัตลักษณ์ของสังคมไทยเปลี่ยนไป.

ที่มา : https://www.gotoknow.org/posts/450615
อัตลักษณ์ ตามความหมายของคณะกรรมการบัญญัติศัพท์ของราชบัณฑิตยสถานได้บัญญัติ

               คำว่า อัตลักษณ์ (อ่านว่า อัด-ตะ-ลัก) ประกอบด้วยคำว่า อัต (อัด-ตะ) ซึ่งหมายถึง ตน หรือ ตัวเอง กับ ลักษณ์ ซึ่งหมายถึง สมบัติเฉพาะตัว. คำว่า อัตลักษณ์ ตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า identity (อ่านว่า ไอ-เด็น-ติ-ตี้) หมายถึง ผลรวมของลักษณะเฉพาะของสิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งทำให้สิ่งนั้นเป็นที่รู้จักหรือ จำได้ เช่น นักร้องกลุ่มนี้มีอัตลักษณ์ทางด้านเสียงที่เด่นมาก ใครได้ยินก็จำได้ทันที. สังคมแต่ละสังคมมีอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของตนเอง. โลกาภิวัตน์ทำให้อัตลักษณ์ของสังคมไทยเปลี่ยนไป...... อ่านต่อได้ที่: https://www.gotoknow.org/posts/450615
ความหมายของคำว่า อัตลักษณ์
              อัตลักษณ์ ตามความหมายของคณะกรรมการบัญญัติศัพท์ของราชบัณฑิตยสถานได้บัญญัติ

               คำว่า อัตลักษณ์ (อ่านว่า อัด-ตะ-ลัก) ประกอบด้วยคำว่า อัต (อัด-ตะ) ซึ่งหมายถึง ตน หรือ ตัวเอง กับ ลักษณ์ ซึ่งหมายถึง สมบัติเฉพาะตัว. คำว่า อัตลักษณ์ ตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า identity (อ่านว่า ไอ-เด็น-ติ-ตี้) หมายถึง ผลรวมของลักษณะเฉพาะของสิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งทำให้สิ่งนั้นเป็นที่รู้จักหรือ จำได้ เช่น นักร้องกลุ่มนี้มีอัตลักษณ์ทางด้านเสียงที่เด่นมาก ใครได้ยินก็จำได้ทันที. สังคมแต่ละสังคมมีอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของตนเอง. โลกาภิวัตน์ทำให้อัตลักษณ์ของสังคมไทยเปลี่ยนไป.
..... อ่านต่อได้ที่: https://www.gotoknow.org/posts/450615
  
  The Corporate Identity Design คือ แนวทางหนึ่งของธุรกิจรุ่นใหม่ที่มีพลัง  อันหมายถึงความคิดแบบ 360 องศาครบถ้วนทุกมิติ เพื่อภาพรวมขององค์กรที่มีประสิทธิภาพและมีเอกภาพผ่านการออกแบบนั่นเอง ความจำเป็นอย่างหนึ่งของการสร้างสรรค์อัตลักษณ์ องค์กรก็คือ  การวางแผนคิดครอบคลุมครบถ้วนจนสามารถทำให้องค์กรขับเคลื่อนอย่างมีทิศทาง เป็นส่วนหนึ่งของวิสัยทัศน์ผู้นำรุ่นใหม่ที่สามารถมองภาพรวม  และภาพบนอย่างครอบคลุม  (BIRD EYE VIEW) จนส่งผลให้ธุรกิจ, องค์กรต่างๆเหล่านั้น มีแบรนด์ที่สมบูรณ์  ยั่งยืนถึงลูกหลานส่งผลต่อการจดจำภาพลักษณ์ได้ง่ายดาย

ที่มา : http://www.oknation.net/blog/print.php?id=844743

   Brand หรือ แบรนด์ (ตราสินค้า) หมายถึง Brand - แบรนด์ ไม่ใช่แค่เพียงชื่อสินค้า ไม่ใช่แค่เพียง Logo ไม่ใช่แค่เพียงโฆษณา และไม่ใช่แค่รูปแบบของตัวบรรจุภัณฑ์เท่านั้น ความหมายของ แบรนด์ จาก ผู้รู้ทางโฆษณา Mr. Jack Trout กล่าวไว้ว่า ตราสินค้า หรือ Brand -แบรนด์ คือความรู้สึก หรือ ความประทับใจโดยรวมต่อสินค้ายี่ห้อนั้นๆ ที่ถูกสร้างขึ้นภายในจิตใจของผู้บริโภค ทั้งจากการโฆษณา ประสบการณ์การใช้สินค้า ภาพลักษณ์ขององค์กร และบุคลากรจากสินค้าและการบริการ รวมถึง ประสบการณ์ใด ๆ ก็ตามที่เกี่ยวกับสินค้าและบริการของ Brand - แบรนด์ นั้น
 

ที่มา : http://allalike-design.blogspot.com/2010/12/brand.html
 
"เครื่องหมาย สัญลักษณ์ ภาษา" ทั้งสามคำแม้มีการให้นิยามที่มีความหมายต่างกัน แต่ก็มีความเกี่ยวข้อง เชื่อมโยงกัน

1. เครื่องหมาย (Sign)
คำภาษาลาตินว่า “Signum” (Angeles, 1981: 256) หมายถึง สิ่งที่ใช้แทนสิ่งอื่นแบ่งได้สองประเภทคือ (กีรติ บุญเจือ. 2522: 84)


1.1 เครื่องหมายตามธรรมชาติ (Natural sign) ได้แก่ สิ่งที่บ่งถึงสิ่งอื่นโดยไม่จำเป็นต้องมีการตกลงกัน เช่น ไฟ หมายถึง ความร้อน

1.2 เครื่องหมายตามข้อตกลง (Conventional/Artificial sign) ได้แก่สิ่งที่ตกลงรู้กันในหมู่คณะว่าหมายถึงอะไร เช่น ธงไตรรงค์ หมายถึง ชาติไทย

2. สัญลักษณ์ (Symbol)
ใช้แทนสิ่งที่มีลักษณะเป็นนามธรรมเพื่อการติดต่อสื่อสาร ถ่ายทอดความคิด เช่น ธงไตรรงค์ เป็นสัญลักษณ์หมายถึงชาติไทย สิ่งที่มีการให้ความหมายโดยการตกลงร่วมกันในสังคมว่าหมายถึงสิ่งหนึ่ง เช่น ไฟจราจรสีเหลืองหมายถึง การขับรถด้วยความระมัดระวัง


โดยทั่วไป สัญลักษณ์เป็นส่วนหนึ่งของ เครื่องหมายแต่มีความหมายจำกัดอยู่ในเครื่องหมายที่มีการตกลงกัน (Conventional/Artificial sign) มีการใช้ร่วมกันในสังคม ให้เป็นสื่อ (ตัวแทน) ถึงสิ่งที่ต้องการนำเสนอ (Meaning, quality, abstraction, idea, object) แทนสิ่งนั้นๆ กล่าวคือ การใช้สิ่ง/เครื่องหมายที่เห็นได้/เข้าใจได้ (Visible sign) แทน (Represent) สิ่งที่ต้องการถ่ายทอด (Something else)
3. ภาษา (Language)
หมายถึง กลุ่มของเครื่องหมายว่าจะใช้สื่อความหมายได้ในระบบเดียวกัน อาจเป็นภาษาพูด ภาษาเขียน หรือภาษามือก็ได้ ซึ่งแต่ละประเภทจะมีได้หลายระบบต่างๆ กัน เพื่อแสดงถึงความรู้สึก อารมณ์ ความปรารถนาและความคิด (Angeles, 1981) ของผู้สื่อสาร ภาษาเป็นระบบของเครื่องหมายที่ใช้เพื่อแสดงออกเพี่อให้ข้อมูล แสดงอารมณ์ หรือเหตุผล


ที่มา : https://khopkhun.wordpress.com/page/22/

สรุป การออกแบบอัตลักษณ์คือการออกแบบภาพลักษณ์ทั้งหมดขององค์กร ให้มีความเฉพาะตัว
เมื่อคนพบเห็นสามารถรู้ทันทีว่าคือองค์กรใด เช่น สี เครื่องแต่งกาย สัญลักษณ์
อัตลักษณ์ ตามความหมายของคณะกรรมการบัญญัติศัพท์ของราชบัณฑิตยสถานได้บัญญัติ

               คำว่า อัตลักษณ์ (อ่านว่า อัด-ตะ-ลัก) ประกอบด้วยคำว่า อัต (อัด-ตะ) ซึ่งหมายถึง ตน หรือ ตัวเอง กับ ลักษณ์ ซึ่งหมายถึง สมบัติเฉพาะตัว. คำว่า อัตลักษณ์ ตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า identity (อ่านว่า ไอ-เด็น-ติ-ตี้) หมายถึง ผลรวมของลักษณะเฉพาะของสิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งทำให้สิ่งนั้นเป็นที่รู้จักหรือ จำได้ เช่น นักร้องกลุ่มนี้มีอัตลักษณ์ทางด้านเสียงที่เด่นมาก ใครได้ยินก็จำได้ทันที. สังคมแต่ละสังคมมีอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของตนเอง. โลกาภิวัตน์ทำให้อัตลักษณ์ของสังคมไทยเปลี่ยนไป.
..... อ่านต่อได้ที่: https://www.gotoknow.org/posts/450615
อัตลักษณ์ ตามความหมายของคณะกรรมการบัญญัติศัพท์ของราชบัณฑิตยสถานได้บัญญัติ

               คำว่า อัตลักษณ์ (อ่านว่า อัด-ตะ-ลัก) ประกอบด้วยคำว่า อัต (อัด-ตะ) ซึ่งหมายถึง ตน หรือ ตัวเอง กับ ลักษณ์ ซึ่งหมายถึง สมบัติเฉพาะตัว. คำว่า อัตลักษณ์ ตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า identity (อ่านว่า ไอ-เด็น-ติ-ตี้) หมายถึง ผลรวมของลักษณะเฉพาะของสิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งทำให้สิ่งนั้นเป็นที่รู้จักหรือ จำได้ เช่น นักร้องกลุ่มนี้มีอัตลักษณ์ทางด้านเสียงที่เด่นมาก ใครได้ยินก็จำได้ทันที. สังคมแต่ละสังคมมีอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของตนเอง. โลกาภิวัตน์ทำให้อัตลักษณ์ของสังคมไทยเปลี่ยนไป.
..... อ่านต่อได้ที่: https://www.gotoknow.org/posts/450615
อัตลักษณ์ ตามความหมายของคณะกรรมการบัญญัติศัพท์ของราชบัณฑิตยสถานได้บัญญัติ

               คำว่า อัตลักษณ์ (อ่านว่า อัด-ตะ-ลัก) ประกอบด้วยคำว่า อัต (อัด-ตะ) ซึ่งหมายถึง ตน หรือ ตัวเอง กับ ลักษณ์ ซึ่งหมายถึง สมบัติเฉพาะตัว. คำว่า อัตลักษณ์ ตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า identity (อ่านว่า ไอ-เด็น-ติ-ตี้) หมายถึง ผลรวมของลักษณะเฉพาะของสิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งทำให้สิ่งนั้นเป็นที่รู้จักหรือ จำได้ เช่น นักร้องกลุ่มนี้มีอัตลักษณ์ทางด้านเสียงที่เด่นมาก ใครได้ยินก็จำได้ทันที. สังคมแต่ละสังคมมีอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของตนเอง. โลกาภิวัตน์ทำให้อัตลักษณ์ของสังคมไทยเปลี่ยนไป.
..... อ่านต่อได้ที่: https://www.gotoknow.org/posts/450615