ความหมายของคำว่า อัตลักษณ์
อัตลักษณ์
ตามความหมายของคณะกรรมการบัญญัติศัพท์ของราชบัณฑิตยสถานได้บัญญัติ
คำว่า อัตลักษณ์ (อ่านว่า อัด-ตะ-ลัก) ประกอบด้วยคำว่า อัต (อัด-ตะ)
ซึ่งหมายถึง ตน หรือ ตัวเอง กับ ลักษณ์ ซึ่งหมายถึง
สมบัติเฉพาะตัว. คำว่า
อัตลักษณ์ ตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า identity (อ่านว่า
ไอ-เด็น-ติ-ตี้) หมายถึง
ผลรวมของลักษณะเฉพาะของสิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งทำให้สิ่งนั้นเป็นที่รู้จักหรือ
จำได้ เช่น
นักร้องกลุ่มนี้มีอัตลักษณ์ทางด้านเสียงที่เด่นมาก
ใครได้ยินก็จำได้ทันที.
สังคมแต่ละสังคมมีอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของตนเอง.
โลกาภิวัตน์ทำให้อัตลักษณ์ของสังคมไทยเปลี่ยนไป.
..... อ่านต่อได้ที่:
https://www.gotoknow.org/posts/450615
อัตลักษณ์
ตามความหมายของคณะกรรมการบัญญัติศัพท์ของราชบัณฑิตยสถานได้บัญญัติคำว่า อัตลักษณ์ (อ่านว่า อัด-ตะ-ลัก)
ประกอบด้วยคำว่า อัต (อัด-ตะ) ซึ่งหมายถึง ตน หรือ ตัวเอง กับ ลักษณ์
ซึ่งหมายถึง สมบัติเฉพาะตัว. คำว่า อัตลักษณ์ ตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า
identity (อ่านว่า ไอ-เด็น-ติ-ตี้) หมายถึง
ผลรวมของลักษณะเฉพาะของสิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งทำให้สิ่งนั้นเป็นที่รู้จักหรือ
จำได้ เช่น นักร้องกลุ่มนี้มีอัตลักษณ์ทางด้านเสียงที่เด่นมาก
ใครได้ยินก็จำได้ทันที. สังคมแต่ละสังคมมีอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของตนเอง.
โลกาภิวัตน์ทำให้อัตลักษณ์ของสังคมไทยเปลี่ยนไป.
ที่มา : https://www.gotoknow.org/posts/450615
อัตลักษณ์
ตามความหมายของคณะกรรมการบัญญัติศัพท์ของราชบัณฑิตยสถานได้บัญญัติ
คำว่า อัตลักษณ์ (อ่านว่า อัด-ตะ-ลัก) ประกอบด้วยคำว่า อัต (อัด-ตะ)
ซึ่งหมายถึง ตน หรือ ตัวเอง กับ ลักษณ์ ซึ่งหมายถึง สมบัติเฉพาะตัว. คำว่า
อัตลักษณ์ ตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า identity (อ่านว่า
ไอ-เด็น-ติ-ตี้) หมายถึง
ผลรวมของลักษณะเฉพาะของสิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งทำให้สิ่งนั้นเป็นที่รู้จักหรือ
จำได้ เช่น
นักร้องกลุ่มนี้มีอัตลักษณ์ทางด้านเสียงที่เด่นมาก
ใครได้ยินก็จำได้ทันที.
สังคมแต่ละสังคมมีอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของตนเอง.
โลกาภิวัตน์ทำให้อัตลักษณ์ของสังคมไทยเปลี่ยนไป...... อ่านต่อได้ที่: https://www.gotoknow.org/posts/450615
ความหมายของคำว่า อัตลักษณ์
อัตลักษณ์
ตามความหมายของคณะกรรมการบัญญัติศัพท์ของราชบัณฑิตยสถานได้บัญญัติ
คำว่า อัตลักษณ์ (อ่านว่า อัด-ตะ-ลัก) ประกอบด้วยคำว่า อัต (อัด-ตะ)
ซึ่งหมายถึง ตน หรือ ตัวเอง กับ ลักษณ์ ซึ่งหมายถึง สมบัติเฉพาะตัว. คำว่า
อัตลักษณ์ ตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า identity (อ่านว่า
ไอ-เด็น-ติ-ตี้) หมายถึง
ผลรวมของลักษณะเฉพาะของสิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งทำให้สิ่งนั้นเป็นที่รู้จักหรือ
จำได้ เช่น
นักร้องกลุ่มนี้มีอัตลักษณ์ทางด้านเสียงที่เด่นมาก
ใครได้ยินก็จำได้ทันที.
สังคมแต่ละสังคมมีอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของตนเอง.
โลกาภิวัตน์ทำให้อัตลักษณ์ของสังคมไทยเปลี่ยนไป.
..... อ่านต่อได้ที่: https://www.gotoknow.org/posts/450615
The Corporate Identity Design
คือ แนวทางหนึ่งของธุรกิจรุ่นใหม่ที่มีพลัง อันหมายถึงความคิดแบบ 360
องศาครบถ้วนทุกมิติ
เพื่อภาพรวมขององค์กรที่มีประสิทธิภาพและมีเอกภาพผ่านการออกแบบนั่นเอง ความจำเป็นอย่างหนึ่งของการสร้างสรรค์อัตลักษณ์
องค์กรก็คือ
การวางแผนคิดครอบคลุมครบถ้วนจนสามารถทำให้องค์กรขับเคลื่อนอย่างมีทิศทาง
เป็นส่วนหนึ่งของวิสัยทัศน์ผู้นำรุ่นใหม่ที่สามารถมองภาพรวม
และภาพบนอย่างครอบคลุม (BIRD EYE VIEW) จนส่งผลให้ธุรกิจ, องค์กรต่างๆเหล่านั้น มีแบรนด์ที่สมบูรณ์ ยั่งยืนถึงลูกหลานส่งผลต่อการจดจำภาพลักษณ์ได้ง่ายดาย
ที่มา : http://www.oknation.net/blog/print.php?id=844743
Brand หรือ แบรนด์ (ตราสินค้า) หมายถึง Brand - แบรนด์ ไม่ใช่แค่เพียงชื่อสินค้า ไม่ใช่แค่เพียง Logo
ไม่ใช่แค่เพียงโฆษณา และไม่ใช่แค่รูปแบบของตัวบรรจุภัณฑ์เท่านั้น
ความหมายของ แบรนด์ จาก ผู้รู้ทางโฆษณา Mr. Jack Trout กล่าวไว้ว่า
ตราสินค้า หรือ Brand -แบรนด์ คือความรู้สึก หรือ
ความประทับใจโดยรวมต่อสินค้ายี่ห้อนั้นๆ
ที่ถูกสร้างขึ้นภายในจิตใจของผู้บริโภค ทั้งจากการโฆษณา
ประสบการณ์การใช้สินค้า ภาพลักษณ์ขององค์กร
และบุคลากรจากสินค้าและการบริการ รวมถึง ประสบการณ์ใด ๆ
ก็ตามที่เกี่ยวกับสินค้าและบริการของ Brand - แบรนด์ นั้น
ที่มา : http://allalike-design.blogspot.com/2010/12/brand.html
"เครื่องหมาย สัญลักษณ์ ภาษา" ทั้งสามคำแม้มีการให้นิยามที่มีความหมายต่างกัน แต่ก็มีความเกี่ยวข้อง เชื่อมโยงกัน
1. เครื่องหมาย (Sign)
คำภาษาลาตินว่า “Signum” (Angeles, 1981: 256) หมายถึง สิ่งที่ใช้แทนสิ่งอื่นแบ่งได้สองประเภทคือ (กีรติ บุญเจือ. 2522: 84)
1.1 เครื่องหมายตามธรรมชาติ (Natural sign) ได้แก่ สิ่งที่บ่งถึงสิ่งอื่นโดยไม่จำเป็นต้องมีการตกลงกัน เช่น ไฟ หมายถึง ความร้อน
1.2 เครื่องหมายตามข้อตกลง (Conventional/Artificial sign) ได้แก่สิ่งที่ตกลงรู้กันในหมู่คณะว่าหมายถึงอะไร เช่น ธงไตรรงค์ หมายถึง ชาติไทย
2. สัญลักษณ์ (Symbol)
ใช้แทนสิ่งที่มีลักษณะเป็นนามธรรมเพื่อการติดต่อสื่อสาร ถ่ายทอดความคิด เช่น ธงไตรรงค์ เป็นสัญลักษณ์หมายถึงชาติไทย สิ่งที่มีการให้ความหมายโดยการตกลงร่วมกันในสังคมว่าหมายถึงสิ่งหนึ่ง เช่น ไฟจราจรสีเหลืองหมายถึง การขับรถด้วยความระมัดระวัง
โดยทั่วไป สัญลักษณ์เป็นส่วนหนึ่งของ “เครื่องหมาย” แต่มีความหมายจำกัดอยู่ในเครื่องหมายที่มีการตกลงกัน (Conventional/Artificial sign) มีการใช้ร่วมกันในสังคม ให้เป็นสื่อ (ตัวแทน) ถึงสิ่งที่ต้องการนำเสนอ (Meaning, quality, abstraction, idea, object) แทนสิ่งนั้นๆ กล่าวคือ การใช้สิ่ง/เครื่องหมายที่เห็นได้/เข้าใจได้ (Visible sign) แทน (Represent) สิ่งที่ต้องการถ่ายทอด (Something else)
3. ภาษา (Language)
หมายถึง กลุ่มของเครื่องหมายว่าจะใช้สื่อความหมายได้ในระบบเดียวกัน อาจเป็นภาษาพูด ภาษาเขียน หรือภาษามือก็ได้ ซึ่งแต่ละประเภทจะมีได้หลายระบบต่างๆ กัน เพื่อแสดงถึงความรู้สึก อารมณ์ ความปรารถนาและความคิด (Angeles, 1981) ของผู้สื่อสาร ภาษาเป็นระบบของเครื่องหมายที่ใช้เพื่อแสดงออกเพี่อให้ข้อมูล แสดงอารมณ์ หรือเหตุผล
ที่มา : https://khopkhun.wordpress.com/page/22/
สรุป การออกแบบอัตลักษณ์คือการออกแบบภาพลักษณ์ทั้งหมดขององค์กร ให้มีความเฉพาะตัว
เมื่อคนพบเห็นสามารถรู้ทันทีว่าคือองค์กรใด เช่น สี เครื่องแต่งกาย สัญลักษณ์
อัตลักษณ์
ตามความหมายของคณะกรรมการบัญญัติศัพท์ของราชบัณฑิตยสถานได้บัญญัติ
คำว่า อัตลักษณ์ (อ่านว่า อัด-ตะ-ลัก) ประกอบด้วยคำว่า อัต (อัด-ตะ)
ซึ่งหมายถึง ตน หรือ ตัวเอง กับ ลักษณ์ ซึ่งหมายถึง
สมบัติเฉพาะตัว. คำว่า
อัตลักษณ์ ตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า identity (อ่านว่า
ไอ-เด็น-ติ-ตี้) หมายถึง
ผลรวมของลักษณะเฉพาะของสิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งทำให้สิ่งนั้นเป็นที่รู้จักหรือ
จำได้ เช่น
นักร้องกลุ่มนี้มีอัตลักษณ์ทางด้านเสียงที่เด่นมาก
ใครได้ยินก็จำได้ทันที.
สังคมแต่ละสังคมมีอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของตนเอง.
โลกาภิวัตน์ทำให้อัตลักษณ์ของสังคมไทยเปลี่ยนไป.
..... อ่านต่อได้ที่:
https://www.gotoknow.org/posts/450615
อัตลักษณ์
ตามความหมายของคณะกรรมการบัญญัติศัพท์ของราชบัณฑิตยสถานได้บัญญัติ
คำว่า อัตลักษณ์ (อ่านว่า อัด-ตะ-ลัก) ประกอบด้วยคำว่า อัต (อัด-ตะ)
ซึ่งหมายถึง ตน หรือ ตัวเอง กับ ลักษณ์ ซึ่งหมายถึง
สมบัติเฉพาะตัว. คำว่า
อัตลักษณ์ ตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า identity (อ่านว่า
ไอ-เด็น-ติ-ตี้) หมายถึง
ผลรวมของลักษณะเฉพาะของสิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งทำให้สิ่งนั้นเป็นที่รู้จักหรือ
จำได้ เช่น
นักร้องกลุ่มนี้มีอัตลักษณ์ทางด้านเสียงที่เด่นมาก
ใครได้ยินก็จำได้ทันที.
สังคมแต่ละสังคมมีอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของตนเอง.
โลกาภิวัตน์ทำให้อัตลักษณ์ของสังคมไทยเปลี่ยนไป.
..... อ่านต่อได้ที่:
https://www.gotoknow.org/posts/450615
อัตลักษณ์
ตามความหมายของคณะกรรมการบัญญัติศัพท์ของราชบัณฑิตยสถานได้บัญญัติ
คำว่า อัตลักษณ์ (อ่านว่า อัด-ตะ-ลัก) ประกอบด้วยคำว่า อัต (อัด-ตะ)
ซึ่งหมายถึง ตน หรือ ตัวเอง กับ ลักษณ์ ซึ่งหมายถึง
สมบัติเฉพาะตัว. คำว่า
อัตลักษณ์ ตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า identity (อ่านว่า
ไอ-เด็น-ติ-ตี้) หมายถึง
ผลรวมของลักษณะเฉพาะของสิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งทำให้สิ่งนั้นเป็นที่รู้จักหรือ
จำได้ เช่น
นักร้องกลุ่มนี้มีอัตลักษณ์ทางด้านเสียงที่เด่นมาก
ใครได้ยินก็จำได้ทันที.
สังคมแต่ละสังคมมีอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของตนเอง.
โลกาภิวัตน์ทำให้อัตลักษณ์ของสังคมไทยเปลี่ยนไป.
..... อ่านต่อได้ที่:
https://www.gotoknow.org/posts/450615